วันพุธที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2557

วิจัย


สรุปวิจัย 


ชื่อวิจัย  ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทาง

วิทยาศาสตร์น้อกห้องเรียน

ผู้ทำวิจัย  สุมาลี  หมวกไธสง

ของมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ

จุดมุ่งหมายของงานวิจัยเพื่อ

1.ระดับความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทาง

วิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน

2.เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังได้รับการจัด

กิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน


ขอบเขตของการวิจัย

ประชากรที่ใช้ในการวิจัย

ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นเด็กอายุ 5-6 ปี  กำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาล 3 ภาคเรียนที่2

ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนสารสาสน์วิเทศ สุวรรณภูมิ สมุทรปราการ จำนวน 180 คน

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นเด็กปฐมวัยอายุ 5-6 ปีที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาล ปีที่3

ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนสารสาสน์วิเทศ สุวรรณภูมิ สมุทรปราการ จำนวน 180คน

ตัวแปรที่ศึกษา

1.ตัวแปรอิสละ  ได้แก่  กิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน

2.ตัวแปรตาม   ได้แก่  ความสามารถในการคิดวิเคราะห์


นิยามศัพท์เฉพาะ

1.เด็กปฐมวัยหมายถึง  เด็กนักเรียนชาย-หญิง อายุ5-6 ปี  ที่กำลังเรียนอยู่ชั้นอนุบาลปีที่3

ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2553 ของโรงเรียนสารสาสน์วิเทศ  สุวรรณภูมิ สังกัด คณะกรรมการการศึกษา

เอกชน  สมุทรปราการ

2.การจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน หมายถึง กระบวนการจัด

ประสบการณ์ในการศึกษาหาความรู้ ผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยพานักเรียนไปศึกษานอก

ห้องเรียนเพื่อศึกษาสิ่งแวดล้อมที่อยู่นอกห้องเรียนอย่างมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เด็กเกิดความรู้จาก

ประสบการณ์ตรงในสภาพที่เป็นจริง ซึ้งขั้นตอนกระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ประกอบด้วยหลักๆคือ

การตั้งคำถามหรือการกำหนดปัญหา  การตั้งสมมุติฐาน หรือ การคาดการคำตอบ



การดำเนินการทดลอง


การทดลองครั้งนี้ดำเนินการในภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา2553 เป็นเวลา8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ3 ครั้ง

ครั้งละ40นาที รวมเวลาทดลองทั้งสิ้น24ครั้ง ในช่วงเวลา 10.00-11.40 น.โดยมีลำดับขั้นตอนดังนี้

1.สร้างความคุ้นเคยกับกลุ่มตัวอย่างเป็นเวลา 1 สัปดาห์

2.นำแบบการคิดวิเคราะห์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมาทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง

3.ดำเนินการทดลองกับกลุ่มตัวอย่างในการใช้กิจกรรม  กระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน

เวลา8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ3 ครั้ง ครั้งละ40 นาที

4.เมื่อดำเนินการทดลองครบ8สัปดาห์ ผู้วิจัยทำการทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้แบบทดสอบการคิด

วิเคราะห์ฉบับเดียวกันก่อนการทดสอบอีกครั้ง

5.นำคะเเนนที่ได้จากการทดสอบไปวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางสติถิและมีเกรณ์การแปลความหมาย

ค่าเฉลี่ย


สรุปผลการวิจัย


1.ผลการศึกษาระดับความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวน

การทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียนของระดับความสามารถในการคิดวิเคราะห์สูงขึ้นอย่างมี

นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

2.ผลการเปรีบยเทียบในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยหลังจากได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทาง

วิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน มีค่าเฉลี่ยสูงขึ้นก่อนการได้รับกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอก

ห้องเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01


*อาจารย์ค่ะวิจัยของหนูลิงค์ไม่ได้ค่ะ แต่หนูหาวิจัยนี้มาจาก Thailis เขาป้องกันไม่ให้ลิงค์หรือก็อปค่ะ



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น