วันเสาร์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่7

บันทึกอนุทินครั้งที่7

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ

วันศุกร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ 2557

กลุ่มเรียน 104  เวลาเรียน 13.00-16.40น.




ความรู้ที่ได้รับ

วันนี้เพื่อนๆนำเสนอบทความ ดังนี้

เรื่องที่1 สอนลูกเรื่องแสงและเงา

เรื่องที่2 การพัฒนาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

เรื่องที่3 การสอนเรื่องแรงโน้มถ่วง

เรื่องที่4 การสอนลูกเรื่องไฟฉาย


กิจกรรมที่ทำในห้อง

อุปกรณ์

1.กระดาษ

2.สีเมจิก

3.ดินสอ

4.แกนกระดาษทิชชู

5.กรรไกร

6.เชือก

7.ที่เจาะกระดาษให้เป็นรู

วิธีการทำ

-ตัดแกนทิชชูออกเป็น2ส่วน   

-นำแกนทิชชูมาเจาะรูทั้ง2ข้าง

-วาดรูปใส่กระดาษแล้วตกแต่งให้สวยงาม

-นำรูปมาติดลงในแกนกระดาษทิชชู ด้านขวาง

-นำไหมพรมความยาวหนึ่งช่วงแขนมาร้อยใส่ลงไปในรูของแกนทิชชูทั้งสองรู

การเล่นที่สอดคล้องกับวิทยาศาสตร์

เวลาเล่นเราจะนำเชือกข้างหนึ่งสวมคอไว้อีกข้างหนึ่งให้จับกางออก จากการสังเกตว่าเวลาเราเล่นชักขึ้น

ชักลงปรากฏว่าภาพ สามารถเคลื่อนขึ้นลงได้


ความรู้ที่ได้รับ(Information)

วิธีการทำของเล่นให้เด็กปฐมวัย จากวัสดุเหลือใช้ที่หาได้ง่ายและ บทความที่เพื่อนมานำเสนอ

ประเมิณตนเอง(evalution)

ตัวเรา(oneself)

มีความสนใจในกิจกรรมที่อาจารย์นำมาสอนในห้องได้ดี

เพื่อน(friend)

เพื่อนๆมีความร่วมมือในการทำกิจกรรมได้ดี

อาจารย์(professor)

อาจารย์เตรียมสื่อการเรียนให้นักศึกษาทำได้ดีมาก ได้ความรู้เพิ่มเติมเยอะมาก






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น